แยกออกได้เป็นรถยนต์นั่ง 67,133,570 คัน (71.8 %) และรถเพื่อการพาณิชย์ 26,413,029 คัน (28.2 %) ทั้งนี้ตามตัวเลขของ OICA (ORGANISATION INTERNATIONALE DES CONSTRUCTEURS D’AUTOMOBILES) หรือองค์การระหว่างประเทศของผู้ผลิตรถยนต์ และเมื่อแยกตามประเทศก็พบว่า ผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ที่สุด 35 อันดับแรก คือ (ในวงเล็บเป็น % เพิ่มลดจากปี 2022)
1.จีน 30,160,966 คัน (+11.6 %)
2.สหรัฐอเมริกา 10,611,555 คัน (+5.6 %)
3.ญี่ปุ่น 8,997,440 คัน (+14.8 %)
4.อินเดีย 5,851,507 คัน (+7.2 %)
5.เกาหลีใต้ 4,243,597 คัน (+13.0 %)
6.เยอรมนี 4,109,371 คัน (+18.1 %)
7.เมกซิโก 4,002,047 คัน (+14.0 %)
8.สเปน 2,451,221 คัน (+10.4 %)
9.บราซิล 2,324,838 คัน (-1.9 %)
10.ไทย 1,841,663 คัน (-2.2 %)
11.แคนาดา 1,553,026 คัน (+25.9 %)
12.ฝรั่งเศส 1,505,076 คัน (+8.8 %)
13.ตุรเคีย 1,468,393 คัน (+8.6 %)
14.สาธารณรัฐเชค 1,404,501 คัน (+14.7 %)
15.อินโดนีเซีย 1,395,717 คัน (-5.1 %)
16.อิหร่าน 1,188.471 คัน (+11.7 %)
17.สโลวะเกีย 1,080,000 (+10.0 %)
18.สหราชอาณาจักร 1,025,474 คัน (+17.0 %)
19.อิตาลี 880,085 คัน (+10.5 %)
20.มาเลเซีย 774,600 คัน (+10.3 %)
21.รัสเซีย 729,864 คัน (+19.8 %)
22.แอฟริกาใต้ 633,337 คัน (+13.9 %)
23.โปแลนด์ 612.882 คัน (+26.7 %)
24.อาร์เจนตินา 610,725 คัน (+13.8 %)
25.โมรอคโค 535,825 คัน (+15.3 %)
26.โรมาเนีย 513,050 คัน (+0.7 %)
27.ฮังการี 507,225 คัน (+14.8 %)
28.อุซเบกิสถาน 425,876 คัน (+8.6 %)
29.เบลเยียม 332,103 คัน (+16.3 %)
30.โปรตุเกส 318,231 คัน (-1.3 %)
31.ไต้หวัน 285,962 คัน (+9.5 %)
32.สวีเดน 276,750 คัน (+15.8 %)
33.เวียดนาม 177,435 คัน (-23.7 %)
34.คาซัคสถาน 146,989 คัน (+30.4 %)
35.เนเธอร์แลนด์ 123,379 คัน (+21.4 %)